อากาศมีประโยชน์ต่อโลกที่เราอาศัยอยู่และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลก อากาศที่อยู่รอบตัวเราและห่อหุ้มโลกที่เหมาะต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ จะอยู่ในบริเวณที่นับจากพื้นผิวโลกขึ้นไปประมาณ 5 – 6 กิโลเมตรเท่านั้น ทั้งนี้เนื่องจากในบริเวณดังกล่าวมีออกซิเจน อ่านเพิ่มเติม
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2563
วันพุธที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2563
4.3 สารกัมมันตรังสี
การสลายให้กัมมันตรังสี (อังกฤษ: radioactive decay) หรือ การสลายของนิวเคลียส หรือ กัมมันตภาพรังสี (อังกฤษ: nuclear decay หรือ radioactivity) เป็นกระบวนการที่ นิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร สูญเสียอ่านเพิ่มเติม
4.2 แบตเตอรี่
แบตเตอรี่ (อังกฤษ: battery) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วย เซลล์ไฟฟ้าเคมี หนึ่งเซลล์หรือมากกว่า ที่มีการเชื่อมต่อภายนอกเพื่อให้กำลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า[1] แบตเตอรี่มี ขั้วบวก (อังกฤษ: anode) และ ขั้วลบ (อังกฤษ: cathode) อ่านเพิ่มเติม
4.1 เชื้อเพลิง
เชื้อเพลิง คือวัสดุใดๆ ที่นำไปเผาไหม้หรือแปรเปลี่ยนเพื่อนำมาซึ่งพลังงาน [1] เชื้อเพลิงจะปลดปล่อยพลังงานผ่านปฏิกิริยาทางเคมีเช่นการเผาไหม้ อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 4 พลังงาน
ในทางฟิสิกส์ พลังงาน (อังกฤษ: Energy) หมายถึง ความสามารถซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้แรงงาน[1] เป็นกำลังงานที่ใช้ในช่วงเวลาหนึ่ง หรือระยะทางหนึ่ง มีค่าเป็น จูล หรือ Joule อ่านเพิ่มเติม
3.5 บรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร
บรรจุภัณฑ์หรือการบรรจุหีบห่อ หมายถึงศาสตร์และศิลป์ที่ใช้ในการบรรจุสินค้าโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการคุ้มครองปกป้องสินค้าจากผู้ผลิตจนถึงมือลูกค้าอย่างปลอดภัยด้วยต้นทุนการผลิตที่เหมาะสม อ่านเพิ่มเติม
3.4 วิตามินและเกลือแร่
เมื่อเรารับประทานสารอาหารไม่พอก็จะเกิดการขาดอาหารซึ่งอาการและอาการแสดงค่อนข้างชัด แต่การขาดวิตามินหรือเกลือแร่จะวินิจฉัยยาก การขาดวิตามินบางชนิดอาจจะอันตรายถึงกับเสียชีวิต นอกจากนั้นการได้รับวิตามินมากไปก็มีผลเสียต่อสุขภาพ เช่นวิตามินเอ
3.3 โปรตีน
โปรตีนเป็นสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งเป็นพอลิเมอร์สายยาวของกรดอะมิโนในแง่โภชนาการ โปรตีนเป็นสารอาหารที่ให้พลังงาน คือโปรตีน 1กรัม ให้พลังงาน 4แคลอรี
3.2 คาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรต ( Carbohydrate ) คือ สารอาหารที่ประกอบด้วยคาร์บอน ( C )
ไฮโดรเจน ( H ) และออกซิเจน ( O ) อ่านเพิ่มเติม
3.1 ไขมันและน้ำมัน
ไขมันประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน โมเลกุลของไขมัน ประกอบด้วยกรีเซอรีน 1 โมเลกุล และกรดไขมัน 3 โมเลกุล ซึ่งอาจเป็นกรดไขมันชนิดเดียวกันหรือต่างกันได้ ไขมันมีหลายชนิด อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 3 อาหาร
อาหาร หมายถึงสสารใด ๆ[1] ซึ่งบริโภคเพื่อเสริมโภชนาการให้แก่ร่างกาย อาหารมักมาจากพืชหรือสัตว์ และมีสารอาหารสำคัญ เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน หรือแร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึมสสารที่เป็นอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงาน คงชีวิต หรือกระตุ้นการเจริญเติบโต อ่านเพิ่มเติม
2.3 การละลายของสารในน้ำ
การละลาย
การละลายเป็นคุณสมบัติของของแข็งของเหลว หรือก๊าซ solute ที่จะละลายในตัวทำละลายที่เป็น ของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ . ทำให้เกิดสารละลายที่เป็นตัวทำละลายในตัวถูกละลาย อ่านเพิ่มเติม
2.2 สารในแหล่งน้ำธรรมชาติ
แหล่งที่มาของน้ำเสีย
1. จากธรรมชาติ เกิดจาการย่อยสลายซาดพืชและซากสัตว์ และสารอินทรีย์ในแหล่งน้ำโดยจุลินทรีย์ ซึ่งจุลินทรีย์มีการใช้แก๊สออกซิเจนไปช่วยในการย่อยสลาย มีผลทำให้ปริมาณแก๊สออกซิเจนในแหล่งน้ำนั้นลดลง นอกจากนี้อาจเกิดจากกระบวนการชะล้างพังทลายของดินทำให้ตะกอนดินถูกพัดพาลงในแหล่งน้ำ ทำให้แหล่งน้ำนั้นขุ่นข้น สิ่งมีชีวิตต่างๆในแหล่งน้ำไม่สามารถดำรงชีวิตได้ และยังทำให้แหล่งน้ำนั้นตื้นเขินอีกด้วย ดังภาพที่ 23-4
2.1 โมเลกุลของน้ำ
น้ำเป็นสารที่มีสมบัติทางกายภาพแตกต่างจากสารอื่น เนื่องจากมี 3 สถานะ คือ เป็นของแข็งหรือน้ำแข็ง
(ice water) ของเหลว (liquid water) และก๊าซหรือไอน้ำ (water vapour) ในธรรมชาติน้ำอยู่ในสถานะของเหลวมากที่สุด อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 2 น้ำ
น้ำเป็นสารประกอบระหว่าง H และ O ในอัตราส่วน 2 ต่อ 1 (H2O) น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีลักษณะสำคัญ 2 ประการ คือ เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในโลก และเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถแทนได้โดยธรรมชาติอ่านเพิ่มเติม
1.5 มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะอากาศที่มีสารเจือปนอยู่ในปริมาณที่สูงกว่าระดับปกติเป็นเวลานานพอที่จะทำให้เกิดอันตรายแก่มนุษย์ สัตว์ พืช หรือทรัพย์สินต่าง อาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ฝุ่นละอองจากลมพายุ ภูเขาไฟระเบิด อ่านเพิ่มเติม
1.4 การใช้ประโยชน์จากอากาศ
ประโยชน์ของอากาศ
อากาศมีประโยชน์ต่อโลกและมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย์ สัตว์ และพืชที่อาศัยอยู่บนโลก ดังนี้
ช่วยปรับอุณหภูมิของโลก
ป้องกันอันตรายจากรังสีอนุภาคต่าง ๆ
1.3ธาตุ
ทางเคมี ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ ปรอทและตะกั่ว อ่านเพิ่มเติม
1.2 อะตอม
อะตอม หรือเดิมเรียก ปรมาณู[1] (อังกฤษ: atom; กรีก: άτομον) เป็นหน่วยพื้นฐานของสสาร ประกอบด้วยส่วนของนิวเคลียสที่หนาแน่นมากอยู่ตรงศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ นิวเคลียสของอะตอมประกอบด้วยโปรตอนที่มีประจุบวกกับนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า (ยกเว้นในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 อ่านเพิ่มเติม
1.1 องค์ประกอบในอากาศ
อากาศจัดเป็นของผสม โดยประกอบด้วยก๊าซต่างๆ เช่น ไอน้ำ, เขม่า, ควันไฟ, และอนุภาคต่างๆ ปะปนกันอยู่ สำหรับอากาศที่ไม่มีไอน้ำอยู่เลย เรียกว่า อากาศแห้ง ส่วนอากาศที่มีไอน้ำเป็นส่วนผสมอยู่ด้วยเรียกว่า อากาศชื้นอ่านเพิ่มเติม